สมาคมพืชสวนฯ เกษตรกรยุคใหม่ทุเรียนทองผาภูมิ ต้องยั่งยืน พร้อมพาเดินชมสวนแบบจัดเต็ม

29 พ.ค 67 ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลตำบลขนุน อำเภอท่าขนุน อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ผศ.ดร. สุนทร พิพิธแสงจันทร์ นายกสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย บอกว่า ปัจจุบันนี้เป็นทุเรียนกำลังมาแรง เป็นพืชส่งออกปีละถึงหลักแสนล้านบาท ทำให้คนหันมาสนใจ ปลูกทุเรียนมากขึ้น สำหรับ ทุเรียนในภาคตะวัน สำหรับทุเรียนในภาคตะวันตก ก็จะต้อง สร้างเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง แต่อย่างไรก็ตาม ในฐานะที่สมาคมพืชสวน ซึ่งได้คลุกคลีติดตาม ในวงการ พืชสวนทั้งการปลูกและตลาดจึงมองว่าระเบียงตะวันตกมีการปลูกทุเรียนมากขึ้น

จึงจัดโครงการเกษตรยุคใหม่ ผลิตอย่างไรอย่างยั่งยืนพร้อมๆกับการสัมมนา การปลูกทุเรียน การปลูกทุเรียนยุคใหม่อย่างยั่งยืนโดยมีวิทยากร มาให้ความรู้ ในรูปแบบต่างๆ แต่ที่ น่าสนใจในปัจจุบัน เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนนั้น ไม่ใช่เป็นเกษตรกรรุ่นเก่าแล้ว หากแต่เป็นคนรุ่นใหม่ ที่มีการศึกษา มีเงินทุน พร้อมที่จะนำนวัตกรรมสมัยใหม่ ซึ่ง มีโอกาส ที่จะมีการพัฒนาวงการมากขึ้น

นายวีระ ศักดิ์ทอง เกษตรจังหวัดจังหวัด กาญจนบุรี บอกว่า ปัจจุบันนี้ ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี มีการปลูกทุเรียน ที่ขึ้นทะเบียนแล้ว กว่า 7,000 ไร่ แต่ถ้ารวมทั้งหมดที่ไม่ขึ้นทะเบียนด้วย ก็หมื่นกว่าไร่ สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร ได้เป็นอย่างดี แต่กระนั้นก็ต้องยอมรับว่าเกษตรกรนั้นก็ยังประสบปัญหาอยู่ ที่ต้องช่วยเหลือกันก็คือเรื่องของ โรคระบาดในเรื่อง ในวันนี้ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ดีอย่างหนึ่งที่จะได้แนะนำเกษตรกรในหลายๆมุมมอง เพื่อพัฒนาทุเรียนในกาญจนบุรีต่อไปแต่ทั้งนี้และทางนั้นต้องบอกว่าทุเรียนจังหวัดกาญจนบุรีนั้น ก็เป็นเอกลักษณ์ ของตนเอง นั่นก็คือ กลิ่นไม่แรง รสชาติหวานมัน อร่อยที่แตกต่างกว่าที่อื่น จึงอยากจะให้ คนไทยเราก็ได้ ลองกินทุเรียนของกาญจนบุรีบ้าง แต่ก็ส่วนใหญ่ที่ผ่านมาก็ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนที่ประเทศจีน

สวนอาจารย์ศักดาศรีนิเวศน์ นักวิชาการ อิสระ บอกว่า ไม่ว่าตนนั้นได้เกษียณอายุราชการแล้วก็ตามแต่ก็ ยังติดตามคลุกคลีอยู่กับองค์การทุเรียนมาตลอดทั้ง การปลูก การตลาดซึ่งปัจจุบันนี้จากการที่ไปดูงานหลายๆประเทศไม่ว่าจะเป็น จีนซึ่งเป็นตลาดผู้ซื้อ เวียดนามซึ่งเป็นตลาดผู้ปลูกที่แข่งกับไทยมีการเปลี่ยนแปลงแล้ว อย่างที่เวียดนาม มีการปลูกทุเรียน เยอะเกือบๆจะเท่าของไทยแล้ว แต่ของเขามีการพัฒนาเทคโนโลยีในการปลูกทำให้เขา ประสบปัญหาในเรื่องของไฟท็อปปูล่าน้อยกว่าแต่อย่างไรก็ตาม คนจะบอกว่า การปลูกการผลิตทุเรียนในยุคใหม่นั้น ถึงเวลา ที่จะต้องเปลี่ยนแปลง ตามใจลูกค้า เพราะลูกค้านั้น คือนาย เท่าที่เรา พบมาลูกค้ารายใหญ่ของเราก็คือจีน ตอนนี้จีนคนรุ่นใหม่ ไม่ใช่รุ่นอาม่ารุ่นอาแปะรุ่น พฤติกรรมการบริโภค มีการเปลี่ยนแปลง คนจีนนิยมบริโภค เป็นทุเรียนขนาดเล็ก ฉะนั้น ต้องพัฒนา ทุเรียนให้เป็นทุเรียนขนาดเล็ก ทุเรียนขนาดเล็กนั้น ดีหลายอย่าง อร่อย และก็ซื้อมาได้หลายรูป ความเสี่ยงต่ำ ลูกน้อยไม่อร่อย ก็ตัดทิ้งได้เลย ฉะนั้น ถึงเวลาที่เราจะต้อง เปลี่ยน แปลงการผลิตทุเรียนให้ลูกขนาดเล็กลงเพราะพร้อมกับการพัฒนาคุณภาพเพื่อสู้คู่แข่งส่วนทุเรียนขนาดใหญ่นั้นเราดูจังหวะว่าส่งไปในช่วงที่ เทศกาลจะดีกว่าเพราะเทศกาลนั้นคนจีนจะนิยมไหว้เจ้าเอาลูกใหญ่ๆ ด้าน

อาจารย์เปรม ณสงขลา อดีตบรรณาธิการบริหารนิดนึงวารสาร เคหะเกษ ปัจจุบันเจ้าของสวน เคหะสมัครฟาร์ม ที่อำเภอหลังร่วมแก้จังหวัดปทุมธานี ด้านการเกษตรในหลายๆด้าน บอกว่า ปัจจุบันนี้ภาคการเกษตร ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปแล้ว เราจะทำแบบเดิมไม่ได้ นอกจากการเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภคแล้ว ยังมีการเปลี่ยนแปลงสภาพของภูมิอากาศฉะนั้นเราจะต้องเน้นภาคการผลิตให้มีคุณภาพโดยเฉพาะ การจัดการส่วนที่ดี อย่างที่เห็นชัดในปีนี้ นั่นก็คือแรง และอาจจะแรงต่อไป แนะนำขึ้นมาก็ครบปลูกต้นไม้ กั้นลม เพราะลมและแดดนั้น เป็นตัวพัดระเหยน้ำ มีต้นไม้บังก็จะช่วยได้ในระดับนึงและสิ่งที่ดีที่สุดก็คือ อันนี้แหละดีที่สุด เนื่องจากว่า น้ำนี่ กับต้นทุเรียน ได้ตลอดเวลา ในขณะที่ ในขณะที่ในสวนทุเรียนเอง ที่ผ่านมาเกษตรกรก็มีสปริงเกอร์ ให้น้ำอยู่แล้ว แต่ในสภาพที่อากาศ ร้อนยังปัจจุบันนี้ ไม่เพียงพอ เพราะ การเกษตร แต่เวลา ปฏิบัติกันจริงแล้ว จะไม่มีสูตรสำเร็จตัว ต้องปรับปรุงแก้ไขตามสภาพของภูมิอากาศ

สวนของ สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย นั้น ได้จัดทำโครงการ “เกษตรกรยุคใหม่ผลิตได้อย่างยั่งยืน” ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก GlobalGiving ร่วมกับ Corteva Agriscience โดยได้ดำเนินโครงการร่วมกับกรมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรมส่งเสริมการเกษตร คณะกรรมการเพิ่มมูลค่าพืชเกษตร สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สมาคมมะพร้าวน้ำหอมไทย สมาคมอารักขาพืชไทย และหน่วยงานพันธมิตร จัดการเสวนา อบรมและดูงาน เพื่อให้เกษตรกรยุคใหม่สามารถรับมือกับวิกฤตการณ์และก้าวทันความเปลี่ยนแปลงได้ สร้างความเข้มแข็งของอนาคตเกษตรกรไทยอย่างยั่งยืน